วันพฤหัสบดีที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2558



                                                                  บันทึกอนุทิน

                                                     ครั้งที่ 11 วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2558

                                                   เวลาเรียน 13.10 - 16.40 น.

   วันนี้อาจารย์ให้สอบโดยข้อสอบมีอยู่ 5 ข้อ 10 คะแนน โดยเป็นข้อเขียนทั้งหมด จากนั้นอาจารย์ก็ได้

พูดถึงเรื่องกีฬาสี เรื่องการลงสังเกตการสอน


การประเมิน

ตนเอง    มีความพร้อมในการสอบปานกลาง 

เพื่อน  ตั้งใจทำข้อสอบกันทุกคน

อาจารย์  คุมการสอบได้ดี และเปิดโอกาสให้ถามได้คนละคำถาม

วันพฤหัสบดีที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2558



                                                              บันทึกอนุทิน

                                                   ครั้งที่ 10 วันที่  19 มีนาคม พ.ศ. 2558

                                                เวลาเรียน 13.10 - 16.40 น.

            การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

                ทักษะการช่วยเหลือตนเอง

การสร้างความอิสระ

- เด็กเลียนแบบการช่วยเหลือตนเองจากเพื่อน เด็กที่โตกว่า และผู้ใหญ่

- ทำตามความสามารถ

ความสำเร็จเป็นสิ่งสำคัญ

- การได้ทำด้วยตนเอง

- เชื่อมั่นในตนเอง

- เรียนรู้ความรู้สึกที่ดี

หัดให้เด็กทำเอง

- ไม่ช่วยเหลือเกินความจำเป็น (ใจแข็ง)

- ''หนูทำช้า'' ''หนูยังทำไม่ได้ (ห้ามพูด)

จะช่วยเมื่อไหร่

- เด็กก็มีบางวันที่ไม่อยากทำอะไร หรือหงุดหงิด เบื่อ ไม่ค่อยสบาย

- มักช่วยเด็กได้ในช่วงกิจกรรม

ลำดับขั้นในการช่วยเหลือตนเอง

- แบ่งทักษะการช่วยเหลือตนเองออกเป็นขั้นย่อยๆ

- เรียงลำดับตามขั้นตอน

การเข้าส้วม                                           -  กดซักโครกหรือตักน้ำราด

- เข้าไปในห้องส้วม                              - ดึงกางเกงขึ้น

- ดึงกางเกงลง                                     - ล้างมือ

- ก้าวขึ้นไปนั่งบนส้วม                          - เช็คมือ

- ปัสสาวะหรืออุจาระ                            - เดินออกจากห้องส้วม

- ใช้กระดาษชำระเช็ดก้น

- ทิ้งกระดาษชำระในตะกร้า

การวางแผนทีละขั้น

- แยกกิจกรรมเป็นขั้นย่อยๆให้มากที่สุด

สรุป

- ครูต้องพยายามให้เด็กทำสิ่งต่างๆด้วยตนเอง

- ย่อยงานแต่ละอย่างเป็นขั้นๆ

- ความสำเร็จขั้นเล็กๆนำไปสู่ความสำเร็จทั้งมวล

- ช่วยให้เด็กมีความมั่นใจในตนเอง

- เด็กพึ่งตนเองได้ รู้สึกเป็นอิสระ

จากนั้นอาจารย์ก็ได้ให้ทำกิจกรรมโดยใช้สีทำเป็นวงกลม จนกว่าจะพอใจ และก็นำมาติดที่ต้นไม้ที่

อาจารย์ได้เตรียมไว้ให้

          การประเมิน

ตนเอง      ตั้งใจเรียน ตั้งใจทำกิจกรรม แต่งกายเรียบร้อยถุกระเบียบ

เพื่อน       ตั้งใจเรียนเป็นส่วนใหญ่ แต่งกายถูกระเบียบ

อาจารย์    มีควาวมในการสอน มีกิจกรรมมาให้ทำ อธิบายเนื้อหาที่เรียนได้อย่างชัดเจน


วันอาทิตย์ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2558



                                                             บันทึกอนุทิน

                                                   ครั้งที่ 9 วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2558

                                                เวลาเรียน 13.10 - 16.40 น.


                         ไม่ได้ไปเรียนเนื่องจากไม่สบาย (ท้องเสีย)


          การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

               ทักษะทางภาษา

การวัดความสามารถทางภาษา

- เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดไหม

- ตอบสนองเมื่อมีคนพูดด้วยไหม

- ถามหาสิ่งต่างๆไหม

การออกเสียงผิด / พูดไม่ชัด

- การพูดตกหล่น

- ติดอ่าง

- การใช้เสียงงหนึ่งแทนอีกเสียง

การปฏิบัติของครูและผู้ใหญ่

- อย่าขัดจังหวะขณะเด็กพูด

- ห้ามบอกเด็กว่า ''พุดช้าๆ'' ''ตามสบาย'' ''คิดก่อนพูด''

- ไม่เปรียบเทียบการพูดของเด็กกับเด็กคนอื่น

ทักษะพื้นฐานทางภาษา

- ทักษะการรับรู้ทางภาษา

- การแสดงออกทางภาษา

- การสื่อความหมายโดยไม่ใช้คำพูด

ความรับผิดชอบของครูปฐมวัย

- ให้เวลาเด็กได้พูด

- ใช้คำถามปลายเปิด

- ร่วมกิจกรรรมกับเด็ก

- เน้นวิธีการสื่อความหมายมากกว่าการพูด




                                                             บันทึกอนุทิน

                                                ครั้งที่ 8 วันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2558

                                               เวลาเรียน 13.10-16.40 น.


        ก่อนการเรียนอาจารย์มีกิจกรรมมาให้เล่น โดยมีอุปกรณ์ ดังนี้

 1. ถุงมือ

 2. กระดาษ

จากนั้นอาจารย์ให้วาดรูปมือตัวเองข้างที่ใส่ถุงมือ จากนั้นให้เปรียบเทียบว่าวาดออกมาได้เหมือนหรือต่าง

กันยังไงบ้าง




        ความรู้ที่ได้รับ

           การสอนเด็กพิเศษและเด็กปปกติ

       การฝึกเพิ่มเติม

- อบรมระยะสั้น

- สัมมนา

- สื่อต่างๆ,การสืบค้นข้อมูล

      การเข้าใจภาวะปกติ

- เด็กมักคล้ายคลึงกันมากกว่าแตกต่าง

- รู้จักเด็กแต่ละคน

- มองเด็กให้เป็น ''เด็ก''

        ความพร้อมของเด็ก

- วุมิภาวะ

- แรงจูงใจ

- โอกาส

         การสอนโดยอังเอิญ

- จะสอนตอนที่เด็กเข้ามาหาครูเอง

- ครูต้องพร้อมที่จะพบเด็ก

- ครูต้องมีความสนใจเด็ก

- ครูต้องมีความรู้สึกที่ดีต่อเด็ก

- ครูต้องทำให้เป็นเรื่องสนุกสนาน

        อุปกรณ์

- มีลักษระง่ายๆ

- เด็กพิเศษได้เรียนรู้จากการสังเกตและเลียนแบบเด็กปกติ

- เด็กปกติเรียนรู้ที่จะช่วยเหลือเด็กพิเศษ

- ของเล่นที่ง่ายและไม่ตายตัว

       เทคนิคการให้แรงเสริม

วิธีการแสดงออกถึงแรงเสริมจากผู้ใหญ่

- ตอบสนองด้วยวาจา

- การยืนหรือนั่งใกล้เด็ก

- พยักหน้ารับ ยิ้ม ฟัง

- สัมผัสทางกาย (จับมือ กอด หอม)

       หลักการให้แรงเสริมในเด็กปฐมวัย

- ครูต้องให้แรงเสริมทันทีที่เด็กมีพฤติกรรมอันพึงประสงค์

              การประเมิน

ตนเอง  มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจทำกิจกรรมทุกครั้ง

เพื่อน   มีความในการเรียนเป็นส่วนใหญ่

อาจารย์  มีการสอนที่เร็วและเข้าใจง่าย มีกิจกรรมให้ทำทุกครั้งที่เข้าเรียน

   


วันพุธที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2558



                                                                        บันทึกอนุทิน

                                                         ครั้งที่ 7 วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25558
 
                                                       เวลาเรียน 13.10 - 16.40 น.

       วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากอยู่ในช่วงสอบกลางภาค





                                                         บันทึกอนุทิน

                                           ครั้งที่ 6 วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

                                           เวลาเรียน 13.10-16.40 น.

       ก่อนจะเข้าสู่บทเรียนอาจารย์ก็มีคำถามสนุกๆๆมาให้เล่น จากนั้นก็เริ่มเข้าสู่บทเรียน

       ความรู้ที่ได้รับ

     1. ทักษะทางสังคม

- เด็กพิเศษที่ขาดทักษะทางสังคมไม่ได้มีสาเหตุมาจากพ่อ-แม่

- การอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีไม่ได้เป็นเครื่องรับประกันว่าเด็กจะมีพัฒนาการต่างๆอย่างมีความสุข

* ทักษะทางสังคมของเด็กพิเศษต้องปรับที่ตัวเด็กไม่สามารถปรับที่สภาพแวดล้อมได้แต่จะเป็นเพียง

ส่วนหนึ่งเท่านั้น

   กิจกรรมการเล่น (จัดให้เล่นเป็นกลุ่ม)

- การเล่นเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้ทักษะทางสังคม

- เด็กจะสนใจกันเองโดยอาศัยการเล่นเป็นสื่อ

- ในช่วงแรกเด็กจะไม่มองเด็กคนอื่นเป็นเพื่อนแต่เป็นอะไรบางอย่างที่น่าสำรวจ สัมผัส ผลัก และดึง

   ยุทธศาสตร์การสอน

สังเกตและจดบันทึก เพื่อนำมาเขียนแผน IEP เพื่อพัฒนาเด็กให้มีพฤติกรรมที่ดีขึ้นและต้องรู้ถึง

พฤติกรรม / สิ่งที่ชอบ,ไม่ชอบ ของเด็กอย่างละเอียด

   การกระตุ้นการเลียนแบบและการเอาอย่าง

- ถ้าจับกลุ่ม 2-4 คน เด้กพิเศษ 1 ต่อเด็กปกติ 3 คน

- เด็กพิเศษจะเลียนแบบเด็กปกติและเด็กปกติจะคอยช่วยเหลือเด็กพิเศษ เด็กพิเศษจะเรียนรู้ได้เร็ว

    ครูปฏิบัติอย่างไรขณะเด็กเล่น

คอยสังเกต คอยช่วยเหลือเด็กๆอยู่ข้างๆ ขณะเด็กทำงานอยู่ครูไม่ควรชมหรือให้กำลังใจขณะเด็ดทำ ควร

คำนึงถึง

1. เด็กขาดสติ

2. เด็กเริ่มเปลี่ยนแปลงความคิดของตัวเอง

การใช้คำถามควรเป้นคำถามที่กว้างไม่เจาะจง การให้ของเล่นควรให้จำนวนน้อยกว่าคนในกลุ่ม

เช่น 4 ให้ 2 , 5 ให้ 3 , 3 ให้ 1

     การให้แรงเสริมทามสังคมในบริบทที่เด็กเล่น

ควรให้เด็กพิเศษนำของเล่นเพื่อที่จะได้เล่นกับเพื่อน อาจจะเป็นของเล่นหลายๆชิ้นที่เพื่อนไม่มีมาให้

เพื่อนเล่นร่วมกัน เพื่อนที่ยังไม่มีของเล่นชิ้นนั้นก้จะเล่นด้วย เพราะของเล่นของเด็กพิเศษมีเยอะและจะ

เล่นร่วมกันได้ ครูควรนั่งเล่นอยู่อย่างใกล้ๆ ครูควรประคองมือเด็กพิเศษทุกครั้งที่จะเข้าไปเล่นกับเด้ก

ปกติเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับเด็กพิเศษ

   กิจกรรมวันนี้ อาจารย์ให้ฟังเสียงเพลงแล้วลากเส้นไปพร้อมเสียงเพลง จากนั้นก็ให้จุดตามช่องที่วาด

โดยให้มีเด็กปกติ 1 คน และเด็กพิเศษ 1 คน

                            การประเมิน

     ตนเอง   ตั้งใจเรียน แต่งกายถูกระเบียบ และร่วมกิจกรรรมอย่างเต็มที่

     เพื่อน    มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนเป้นส่วนมาก และ ทำกิจกรรม

     อาจารย์  มาสอนได้ตรงเวลา มีการเตรียมความพร้อมในการสอนได้ดี อธิบายได้อย่างเข้าใจ