Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood
การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
วันอังคารที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2558
บันทึกอนุทิน
ครั้งที่ 13 วันที่ 23 เมษายน พ.ศ.2558
เวลา 13.10-16.40 น.
ความรู้ที่ได้รับ
โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program หรือ IEP)
แผน IEP (ไม่ได้เขียนคนเดียว)
- แผนการศึกษาที่ร่างขึ้น
- เพื่อให้เด็กพิเศษแต่ละคนได้รับการสอน และการช่วยเหลือฟื้นฟูให้เหมาะสมกับความต้องการและ
ความสามารถของเขา
การเขียยนแผน IEP
- คัดแยกเด็กพิเศษ
- ครูต้องรู้ว่าเด้กมีปัญหาอะไร
- ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะ
- เด็กสามารถทำอะไรได้ / ทำอะไรไม่ได้
IEP ประกอบด้วย
- ข้อมูลส่วนตัวเด็ก
- เป้าหมายระยะยาวประจำปี / ระยะสั้น (สิ่งที่ครูจะเขียน)
- ระบุวัน เดือน ปี ที่เริ่มทำการสอน และคาดคะเนการสิ้นสุดของแผน (ต้องชัดเจนประเมิน1เทอมหรือ1 ปี)
การจัดทำแผน
- ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง(ผอ. ครูประจำชั้น ผู้ปกครอง)
การกำหนดจุดมุ่งหมาย
- จุดมุ่งหมายระยะยาว คือ การกำหนดให้กว้างๆและชัดเจน เช่น น้องนุ่นช่วยเหลือตนเองได้
- จุดมุ่งหมายระยะสั้น คือ กำหนดให้แคบลง (ต้องเป็นเชิงพฤติกรรม)
สรุป การเขียนแผน IEP คือ การเขียนแผนสำหรับเด็กพิเศษ และการเขียนแผนนั้นแผน 1 จะใช้ได้กับเด็ก 1 คนเท่านั้น และต้องเขียนแผนที่ใช้ได้ทั้งเทอม
การประเมิน
ตนเอง มาเรียนช้าประมาณ 5 นาที และตั้งใจเรียน จดบันทึก และทำงานกลุ่ม คือการเขียนแผนอย่างเต็ม
ที่ แต่งกายถุกระเบียบ
เพื่อน มาเรียนตรงเวลาเป็นส่วนใหญ่ ตั้งใจเรียน แต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจทำงานกลุ่ม
อาจารย์ มีความพร้อมในการสอน อธิบายเนื้อหาและยกตัวอย่างได้อย่างชัดเจนและเข้าใจง่าย
วันพฤหัสบดีที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2558
บันทึกอนุทิน
ครั้งที่ 11 วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2558
เวลาเรียน 13.10 - 16.40 น.
วันนี้อาจารย์ให้สอบโดยข้อสอบมีอยู่ 5 ข้อ 10 คะแนน โดยเป็นข้อเขียนทั้งหมด จากนั้นอาจารย์ก็ได้
พูดถึงเรื่องกีฬาสี เรื่องการลงสังเกตการสอน
การประเมิน
ตนเอง มีความพร้อมในการสอบปานกลาง
เพื่อน ตั้งใจทำข้อสอบกันทุกคน
อาจารย์ คุมการสอบได้ดี และเปิดโอกาสให้ถามได้คนละคำถาม
วันพฤหัสบดีที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2558
บันทึกอนุทิน
ครั้งที่ 10 วันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2558
เวลาเรียน 13.10 - 16.40 น.
การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง
การสร้างความอิสระ
- เด็กเลียนแบบการช่วยเหลือตนเองจากเพื่อน เด็กที่โตกว่า และผู้ใหญ่
- ทำตามความสามารถ
ความสำเร็จเป็นสิ่งสำคัญ
- การได้ทำด้วยตนเอง
- เชื่อมั่นในตนเอง
- เรียนรู้ความรู้สึกที่ดี
หัดให้เด็กทำเอง
- ไม่ช่วยเหลือเกินความจำเป็น (ใจแข็ง)
- ''หนูทำช้า'' ''หนูยังทำไม่ได้ (ห้ามพูด)
จะช่วยเมื่อไหร่
- เด็กก็มีบางวันที่ไม่อยากทำอะไร หรือหงุดหงิด เบื่อ ไม่ค่อยสบาย
- มักช่วยเด็กได้ในช่วงกิจกรรม
ลำดับขั้นในการช่วยเหลือตนเอง
- แบ่งทักษะการช่วยเหลือตนเองออกเป็นขั้นย่อยๆ
- เรียงลำดับตามขั้นตอน
การเข้าส้วม - กดซักโครกหรือตักน้ำราด
- เข้าไปในห้องส้วม - ดึงกางเกงขึ้น
- ดึงกางเกงลง - ล้างมือ
- ก้าวขึ้นไปนั่งบนส้วม - เช็คมือ
- ปัสสาวะหรืออุจาระ - เดินออกจากห้องส้วม
- ใช้กระดาษชำระเช็ดก้น
- ทิ้งกระดาษชำระในตะกร้า
การวางแผนทีละขั้น
- แยกกิจกรรมเป็นขั้นย่อยๆให้มากที่สุด
สรุป
- ครูต้องพยายามให้เด็กทำสิ่งต่างๆด้วยตนเอง
- ย่อยงานแต่ละอย่างเป็นขั้นๆ
- ความสำเร็จขั้นเล็กๆนำไปสู่ความสำเร็จทั้งมวล
- ช่วยให้เด็กมีความมั่นใจในตนเอง
- เด็กพึ่งตนเองได้ รู้สึกเป็นอิสระ
จากนั้นอาจารย์ก็ได้ให้ทำกิจกรรมโดยใช้สีทำเป็นวงกลม จนกว่าจะพอใจ และก็นำมาติดที่ต้นไม้ที่
อาจารย์ได้เตรียมไว้ให้
การประเมิน
ตนเอง ตั้งใจเรียน ตั้งใจทำกิจกรรม แต่งกายเรียบร้อยถุกระเบียบ
เพื่อน ตั้งใจเรียนเป็นส่วนใหญ่ แต่งกายถูกระเบียบ
อาจารย์ มีควาวมในการสอน มีกิจกรรมมาให้ทำ อธิบายเนื้อหาที่เรียนได้อย่างชัดเจน
วันอาทิตย์ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2558
บันทึกอนุทิน
ครั้งที่ 9 วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2558
เวลาเรียน 13.10 - 16.40 น.
ไม่ได้ไปเรียนเนื่องจากไม่สบาย (ท้องเสีย)
การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ
ทักษะทางภาษา
การวัดความสามารถทางภาษา
- เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดไหม
- ตอบสนองเมื่อมีคนพูดด้วยไหม
- ถามหาสิ่งต่างๆไหม
การออกเสียงผิด / พูดไม่ชัด
- การพูดตกหล่น
- ติดอ่าง
- การใช้เสียงงหนึ่งแทนอีกเสียง
การปฏิบัติของครูและผู้ใหญ่
- อย่าขัดจังหวะขณะเด็กพูด
- ห้ามบอกเด็กว่า ''พุดช้าๆ'' ''ตามสบาย'' ''คิดก่อนพูด''
- ไม่เปรียบเทียบการพูดของเด็กกับเด็กคนอื่น
ทักษะพื้นฐานทางภาษา
- ทักษะการรับรู้ทางภาษา
- การแสดงออกทางภาษา
- การสื่อความหมายโดยไม่ใช้คำพูด
ความรับผิดชอบของครูปฐมวัย
- ให้เวลาเด็กได้พูด
- ใช้คำถามปลายเปิด
- ร่วมกิจกรรรมกับเด็ก
- เน้นวิธีการสื่อความหมายมากกว่าการพูด
บันทึกอนุทิน
ครั้งที่ 8 วันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2558
เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
ก่อนการเรียนอาจารย์มีกิจกรรมมาให้เล่น โดยมีอุปกรณ์ ดังนี้
1. ถุงมือ
2. กระดาษ
จากนั้นอาจารย์ให้วาดรูปมือตัวเองข้างที่ใส่ถุงมือ จากนั้นให้เปรียบเทียบว่าวาดออกมาได้เหมือนหรือต่าง
กันยังไงบ้าง
การสอนเด็กพิเศษและเด็กปปกติ
การฝึกเพิ่มเติม
- อบรมระยะสั้น
- สัมมนา
- สื่อต่างๆ,การสืบค้นข้อมูล
การเข้าใจภาวะปกติ
- เด็กมักคล้ายคลึงกันมากกว่าแตกต่าง
- รู้จักเด็กแต่ละคน
- มองเด็กให้เป็น ''เด็ก''
ความพร้อมของเด็ก
- วุมิภาวะ
- แรงจูงใจ
- โอกาส
การสอนโดยอังเอิญ
- จะสอนตอนที่เด็กเข้ามาหาครูเอง
- ครูต้องพร้อมที่จะพบเด็ก
- ครูต้องมีความสนใจเด็ก
- ครูต้องมีความรู้สึกที่ดีต่อเด็ก
- ครูต้องทำให้เป็นเรื่องสนุกสนาน
อุปกรณ์
- มีลักษระง่ายๆ
- เด็กพิเศษได้เรียนรู้จากการสังเกตและเลียนแบบเด็กปกติ
- เด็กปกติเรียนรู้ที่จะช่วยเหลือเด็กพิเศษ
- ของเล่นที่ง่ายและไม่ตายตัว
เทคนิคการให้แรงเสริม
วิธีการแสดงออกถึงแรงเสริมจากผู้ใหญ่
- ตอบสนองด้วยวาจา
- การยืนหรือนั่งใกล้เด็ก
- พยักหน้ารับ ยิ้ม ฟัง
- สัมผัสทางกาย (จับมือ กอด หอม)
หลักการให้แรงเสริมในเด็กปฐมวัย
- ครูต้องให้แรงเสริมทันทีที่เด็กมีพฤติกรรมอันพึงประสงค์
การประเมิน
ตนเอง มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจทำกิจกรรมทุกครั้ง
เพื่อน มีความในการเรียนเป็นส่วนใหญ่
อาจารย์ มีการสอนที่เร็วและเข้าใจง่าย มีกิจกรรมให้ทำทุกครั้งที่เข้าเรียน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)